หน้าแรก เกี่ยวกับเรา สารจากคณบดี คณะกรรมการ เครือข่าย ติดต่อเรา ข่าวกิจกรรม ฐานข้อมูลเครื่องมือวิจัยด้านอาชีวอนามัย
 

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ  

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ

Center for Occupational Health and Safety for Workers in the Northern Region
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ


ฐานข้อมูลเครื่องมือด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
• งานวิจัยทั้งหมด
• ความเครียดจากการทำงาน
• ความสุขในการทำงาน
• ความพึงพอใจในงาน
• การบาดเจ็บของโครงร่างและกล้ามเนื้อ
• ความสามารถในการทำงาน
• พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
• ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน
• พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
• คุณภาพชีวิตในการทำงาน



แบบประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงาน




สำหรับประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงานด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพจากการทำงานในอาชีพของท่านได้ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลใกล้บ้านท่านได้
ทำแบบประเมิน



 

ความเครียดจากการทำงานของพยาบาลชายในประเทศไทยและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง




ชื่อเรื่องวิจัย

ความเครียดจากการทำงานของพยาบาลชายในประเทศไทยและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

นักวิจัย

วีรวัฒน์ ทางธรรม

กรอบแนวคิด/ที่มาของเครื่องมือ

แนวคิดความเครียดจากการทำงานของ Demand – Control Model ของคาราเสค ( Karasek, 1979 cited in Karasek& Theorell, 1990) แนวคิดปัจจัยด้านบทบาทของ Rizzo et al. (1970) และแนวคิดการสนับสนุนจากสังคมของ Demand – Control Model ของคาราเสค ( Karasek, 1979 cited in Karasek& Theorell, 1990)

เครื่องมือ

- เครื่องมือชุดที่ 1
แบบสอบถามเกี่ยวกับการสนับสนุนทางสังคมจากหัวหน้างาน และจากเพื่อนร่วมงาน ลักษณะข้อคำถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า (rating scale) จำนวน 8 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นรายด้าน ดังนี้
- แรงสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา 0.89
- แรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน 0.84

- เครื่องมือชุดที่ 2
แบบสอบถามปัจจัยด้านบทบาท ลักษณะข้อคำถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า(rating scale) จำนวน 14 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นรายด้าน ดังนี้
- ความขัดแย้งในบทบาท 0.84
- ความคลุมเครือในบทบาท 0.76

- เครื่องมือชุดที่ 3
แบบประเมินความเครียดจากการทำงาน นำมาจากแบบสอบถาม Thai-JCD (Job Content Questionnaire) ตามแนวคิด Demand-Control Model ของคาราเสค(Karasek, 1979) ลักษณะข้อคำถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า (rating scale)ทั้งหมด 23 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นรายด้าน ดังนี้
- ความต้องการในงาน 0.89
- ความสามารถในการควบคุมงาน 0.81

กลุ่มตัวอย่าง

พยาบาลชายที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งจากสภาการพยาบาล จำนวน 622 คน

แหล่งข้อมูล

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกการพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2557







สงวนสิทธิ์ข้อมูลทั้งหมดภายในเว็บไซต์นี้โดย ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ
© Center for Occupational Health and Safety for Workers in the Northern Region
E-mail: cohsn.fon@gmail.com