 |
ฐานข้อมูลเครื่องมือด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย |
|
|

แบบประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงาน |

สำหรับประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงานด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพจากการทำงานในอาชีพของท่านได้ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลใกล้บ้านท่านได้
|
|
|

|
|
การพัฒนาแบบวัดปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียงของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม |
 |

ชื่อเรื่องวิจัย
การพัฒนาแบบวัดปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียงของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม
นักวิจัย
กัลยาณี ตันตรานนท์, วีระพร ศุทธากรณ์, และ อนนท์ วิสุทธิ์ธนานนท์
กรอบแนวคิด/ที่มาของเครื่องมือ
จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เครื่องมือ
- เครื่องมือชุดที่ 1
แบบวัดการรับรู้ประโยชน์ของการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert
scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 6 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.83
- เครื่องมือชุดที่ 2
แบบวัดการรับรู้อุปสรรคของการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert
scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 11 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.88
- เครื่องมือชุดที่ 3
แบบวัดการรับรู้สมรรถนะส่วนบุคคลในการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 8 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.83
- เครื่องมือชุดที่ 4
แบบวัดการรับรู้ความเสี่ยงของการสูญเสียการได้ยิน ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 2 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.89
- เครื่องมือชุดที่ 5
แบบวัดการรับรู้ความรุนแรงของการสูญเสียการได้ยิน ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert
scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 9 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.89
- เครื่องมือชุดที่ 6
แบบวัดการรับรู้ปัจจัยระหว่างบุคคลเกี่ยวกับการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 6 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.88
- เครื่องมือชุดที่ 7
แบบวัดการรับรู้ปัจจัยด้านสถานการณ์เกี่ยวกับการใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง ลักษณะคำตอบเป็นลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (likert scale) 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวนข้อคำถาม 7 ข้อ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.90
กลุ่มตัวอย่าง
คนงานในโรงงานอุตสาหกรรม
แหล่งข้อมูล
พยาบาลสารปีที่ 40 ฉบับพิเศษ มกราคม พ.ศ. 2556
|
|