หน้าแรก เกี่ยวกับเรา สารจากคณบดี คณะกรรมการ เครือข่าย ติดต่อเรา ข่าวกิจกรรม ฐานข้อมูลเครื่องมือวิจัยด้านอาชีวอนามัย
 

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ  

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ

Center for Occupational Health and Safety for Workers in the Northern Region
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ


ฐานข้อมูลเครื่องมือด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
• งานวิจัยทั้งหมด
• ความเครียดจากการทำงาน
• ความสุขในการทำงาน
• ความพึงพอใจในงาน
• การบาดเจ็บของโครงร่างและกล้ามเนื้อ
• ความสามารถในการทำงาน
• พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน
• พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
• คุณภาพชีวิตในการทำงาน



แบบประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงาน




สำหรับประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงานด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพจากการทำงานในอาชีพของท่านได้ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลใกล้บ้านท่านได้
ทำแบบประเมิน



 

ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงของพนักงานเก็บขยะ




ชื่อเรื่องวิจัย

ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงของพนักงานเก็บขยะ

นักวิจัย

นริศรา เลิศพรสวรรค์, ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์, และ ธานี แก้วธรรมานุกูล

กรอบแนวคิด/ที่มาของเครื่องมือ

ประยุกต์แนวคิดระบาดวิทยาด้านอาชีวอนามัย (Checkoway, Pearce, & Kriebel, 2004) และการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

เครื่องมือ

- เครื่องมือชุดที่ 1
แบบสัมภาษณ์ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความ เสี่ยงพัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการทำงาน ปัจจัยคุกคาม สุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหาเท่ากับ 0.98 และทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสัมภาษณ์ โดยใช้ 1) สัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ในส่วนของปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานชีวิตได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.86 และ 2) สัมประสิทธิ์คูเดอร์ริชาร์ดสัน 20 (Kuder-Richardson 20 [KR20]) ในส่วนของภาวะสุขภาพตามความเสี่ยง ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82

กลุ่มตัวอย่าง

พนักงานเก็บขยะภายใต้การดูแลขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ในเขตพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 811 ราย

แหล่งข้อมูล

วารสารพยาบาลสาร ปีที่ 44 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน พ.ศ. 2560







สงวนสิทธิ์ข้อมูลทั้งหมดภายในเว็บไซต์นี้โดย ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ
© Center for Occupational Health and Safety for Workers in the Northern Region
E-mail: cohsn.fon@gmail.com