หน้าแรก เกี่ยวกับเรา สารจากคณบดี คณะกรรมการ เครือข่าย ติดต่อเรา ข่าวกิจกรรม ฐานข้อมูลเครื่องมือวิจัยด้านอาชีวอนามัย
 

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ  

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ

Center for Occupational Health and Safety for Workers in the Northern Region
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ


ฐานข้อมูลเครื่องมือด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
• งานวิจัยทั้งหมด
• ความเครียดจากการทำงาน
• ความสุขในการทำงาน
• ความพึงพอใจในงาน
• การบาดเจ็บของโครงร่างและกล้ามเนื้อ
• ความสามารถในการทำงาน
• พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน
• พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
• คุณภาพชีวิตในการทำงาน



แบบประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงาน




สำหรับประเมินการสัมผัสปัจจัยอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงานด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพจากการทำงานในอาชีพของท่านได้ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลใกล้บ้านท่านได้
ทำแบบประเมิน



 

ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงของคนงานโรงงานยางแผ่นรมควัน




ชื่อเรื่องวิจัย

ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงของคนงานโรงงานยางแผ่นรมควัน

นักวิจัย

ประภัสสร อักษรพันธ์

กรอบแนวคิด/ที่มาของเครื่องมือ

กรอบแนวคิดภาวะสุขภาพคนงานของ โรเจอร์ส (Rogers, 2003) และ โอโดเนล (O’Donnell, 2002) ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

เครื่องมือ

- แบบสัมภาษณ์ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงาน มีข้อคำถามจำนวน 33 ข้อ ลักษณะคำตอบเป็นแบบ 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และ ไม่ใช่ ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหา (content validity index[CVI]) เท่ากับ 0.96 ตรวจสอบความสอดคล้องภายใน (internal consistency reliability) ของแบบสัมภาษณ์ โดยใช้สัมประสิทธิ์คูเดอร์-ริชาร์ดสัน 20 (Kuder-Richardson [KR-20]) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86

- แบบสัมภาษณ์ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน มีคำถามจำนวน 48 ข้อ ลักษณะคำตอบเป็นแบบ 2 ตัวเลือก คือ มี หรือ ไม่มีอาการการเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บ ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหา (content validity index[CVI]) เท่ากับ 0.96 ตรวจสอบความสอดคล้องภายใน (internal consistency reliability) ของแบบสัมภาษณ์ โดยใช้สัมประสิทธิ์คูเดอร์-ริชาร์ดสัน 20 (Kuder-Richardson [KR-20]) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.78



กลุ่มตัวอย่าง

คนงานที่ทำงานในโรงงานยางแผ่นรมควันขนาดใหญ่ที่มีคนงานตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป จำนวน 219 คน

แหล่งข้อมูล

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลอาชีวอนามัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สิงหาคม 2554







สงวนสิทธิ์ข้อมูลทั้งหมดภายในเว็บไซต์นี้โดย ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนทำงานภาคเหนือ
© Center for Occupational Health and Safety for Workers in the Northern Region
E-mail: cohsn.fon@gmail.com